นันยางสร้างตำนานบทใหม่อีกครั้ง ล่าสุดจับมือฮัมมิ่งเบิร์ด รีเสิร์ช แอนด์ มาร์เก็ตติ้ง คอนซัลแทนส์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการหา insight เพื่อออกแบบกลยุทธ์การตลาด พัฒนาโปรเจควิจัยเฉพาะกิจ ‘นันยาง X ฮัมมิ่งเบิร์ด Inside Thai Kids’ เจาะลึกแนวคิดของเด็กไทยวั ยประถม ที่พร้อมจะนำเสนอวิจัยใหม่ๆ เกี่ยวกับเด็กไทยในทุ กไตรมาสตลอดปี 63 นำร่องด้วยประเด็นหยุดโลก ‘เด็กไทยคิดยังไงกับ COVID-19’ ที่ทำให้เห็นว่า ‘ทุกวิกฤติย่อมมีโอกาสเสมอ’ และที่สำคัญเราจะเห็นชัดเจนว่า ‘เด็กไทยมีศักยภาพกว่าที่คิด’
ผู้ใหญ่คิดไม่ถึง! เด็กมอง COVID-19 คือวัคซีนช่วยกระชับสัมพันธ์ ในครอบครัว
ช่วงการระบาดของ COVID-19 พ่อแม่ส่วนใหญ่ต้อง work from home มากขึ้น ซึ่งลูกๆไม่ค่อยได้เจอสถานการณ์ แบบนี้ ที่พ่อแม่มีเวลาให้เป็นพิเศษ แน่นอนก็ท้าทายพ่อแม่เช่นกัน ว่าจะทำกิจกรรมอะไรในบ้านดี ตอนนี้ธุรกิจที่เป็นพวก อาหาร ความบันเทิงในครอบครัว จึงมาแรง สำหรับเด็กๆจึงรู้สึกดีใจที่พ่ อแม่มีเวลาเล่น ทำกิจกรรมด้วยมากเป็นพิเศษ จึงเป็นช่วงเวลาคุณภาพกั บครอบครัวอย่างแท้จริง
ปัจจุบันข่าวส่วนใหญ่พูดถึงแต่ มุมผู้ใหญ่ต่อสถานการณ์นี้ เรามาฟังมุมเด็กประถมบ้างดีกว่า ว่าเขาคิดเห็นอย่างไร
• รู้สึกน่าเบื่อ มากกว่า น่ากลัว
โลกวัยเด็กนั้นสดใสกว่าผู้ใหญ่ มาก ความกลัวของโคโรน่าไวรัสยังไม่ รุนแรงเท่าผู้ใหญ่ ถึงแม้เด็ก ๆ จะเริ่มติดตามข่าวแบบผู้ใหญ่ที่ เราเป็นกัน แต่ความกลัวนั้นยังไม่มากเท่ากั บผู้ใหญ่เรา ในมุมเด็กๆจึงรู้สึกเบื่อ มากกว่ารู้สึกกลัว เนื่องจากถูกควบคุมไม่ให้ ออกจากบ้านเลย และไม่ได้เจอเพื่อนๆรวมถึงทำกิ จกรรมนอกบ้านอีก
• เริ่มเห็นคุณค่าของบางสิ่งมากขึ้ น
ในวิกฤตชีวิตย่อมมีโอกาสเสมอ ในเวลานี้ก็เช่นกัน สถานการณ์นี้สอนเด็กๆได้เห็นมุ มใหม่ๆด้วย คือ อิสรภาพและการไปโรงเรียนนั้นมี ค่ามากขึ้น เนื่องจากหลายคนไม่ได้เจอเพื่ อนๆเลย ไม่ได้ทำกิจกรรมกับคนนอก เริ่มเห็นแล้วว่าโชคดีแต่ไหน เวลาได้ใช้ชีวิตในโรงเรี ยนและสนุกกับเพื่อนๆได้ เปิดเทอมนี้ครั้งนี้จึงน่าจะเป็ นสิ่งที่เด็กๆรอคอยมากกว่าปกติ
• ดูหนัง เล่นเกมส์ จนเบื่อแล้ว
ตอนนี้พวกทีวีหรือ Content streaming ต่างๆ เป็นตัวช่วยหลักของครอบครัว เด็กมีเวลาดูสื่อเหล่านี้มากขึ้ น เรียกว่าไล่ดูจนเริ่มหมด และเกมส์ก็เป็นอีกทางเลื อกในการฆ่าเวลา ดังนั้นความท้าทายของครอบครัวคื อ จะให้เด็กๆจัดสรรเวลาเหล่านี้ ให้พอดีอย่างได้อย่างไร ทั้งเล่น ทั้งเรียนรู้ และ สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว
ดังนั้นสำหรับครอบครัว ขอให้ทุกครอบครัวใช้โอกาสนี้เป็ นพลังบวก ผ่านเวลาที่ยากลำบากด้วยกัน โดยการสร้างเวลาที่มีคุณภาพกั บเด็กให้มากที่สุด อย่าปล่อยให้เด็กตามล่าความฝั นคนเดียว เพราะจริงๆแล้ว ‘เขาต้องการพ่อแม่มาช่วยดูแลด้ วย’
ธุรกิจต้องปรับตัวอย่างไร? ถึงจะมัดใจเด็กในช่วง Covid-19 จังหวะนี้คือนาทีทองของ ‘สินค้าและบริการที่มาพร้อม solution’ เพราะการช่วยแก้ปัญหาที่เด็ กและพ่อแม่คับข้องใจและช่วยแก้ ไขให้สถานการณ์ในช่วงนี้ดีขึ้ นได้
คือทางสู่ความสำเร็จ
•การสร้างความบันเทิงหรือกิ จกรรมในบ้านเพื่อสมาชิ กในครอบครัว คือ สิ่งที่ทุกครอบครัวมองหาหลั งจากมีนโยบายทำงานที่บ้านและไม่ ให้ออกนอกบ้านโดยไม่จำเป็น
o ธุรกิจเกี่ยวข้องโดยตรงนี่คื อโอกาสที่ดีเลย เช่น content, boardgame, online game, เครื่องออกกำลังกายแบบที่เล่ นได้ในครอบครัว, ของเล่นหรืออุปกรณ์ที่สร้างกิ จกรรมให้เด็กๆ เป็นต้น
o ถึงแม้บางแบรนด์จะไม่เกี่ยวข้ องโดยตรง แต่ยังมีโอกาสสำหรับแบรนด์อยู่ เสมอ โดยต้องคิดว่าแบรนด์มีส่วนช่ วยในการแก้ปัญหาด้านนี้ได้อย่ างไร เช่น แบรนด์ของอาหารยี่ห้อหนึ่ง สร้าง content ให้ครอบครัวสั่งอาหารแบบ half-cook ไปปรุงกันเองในบ้าน เพื่อสร้างความสนุกในครอบครั วและเป็นกิจกรรมให้เด็กๆ
การดูแลสุขภาพ ตอนนี้ยอดสั่งซื้อพวกผลิตภัณฑ์ ฆ่าเชื้อโรคทุกรูปแบบ หรือ บริษัททำความสะอาดที่เน้นการฆ่ าเชื้อโรค รวมถึง อาการเสริม วิตามิน รวมถึงการออกกำลังกายของค่ายต่ างๆที่ปรับตัวมาอยู่ที่ออนไลน์ มากขึ้น ดังนั้นต้องตั้งคำถามว่าแบรนด์ เรามีส่วนช่วยในด้านสุขภาพได้ อย่างไรบ้าง ?
• ปรับการทำงานใหม่ๆ ธุรกิจของคุณยังคงเป็นที่ต้ องการแต่คนออกจากบ้านไม่ได้ ดังนั้นแบรนด์ต้องปรับตั วในการทำงาน เช่น ร้านตัดผมที่มีการตัดผมแบบ delivery หรือร้านต่างๆที่เข้าสู่ ระบบออนไลน์กันมากขึ้น หรือแม้แต่ธุรกิจ delivery เองก็มีนโยบาย social distance เพื่อให้คนทำงานได้ ทำงานแบบปลอดภัยและดูแลลูกค้ าได้
“วิจัยในครั้งนี้จะทำให้เราทุ กคนได้เข้าใจถึงความคิดของเด็ กไทยมากยิ่งขึ้น” จักรพล จันทวิมล ผู้จัดการทั่วไป บริษัท นันยางมาร์เก็ตติ้ง จำกัด เปิดเผยถึง insight ที่ได้จากโปรเจคความร่วมมือกับ บังอร สุวรรณมงคล หัวเรือใหญ่ของฮัมมิ่งเบิร์ด บริษัทวิจัยเชิงอินไซต์ เพื่อลงสนามเจาะข้อมูลจากทั้งผู้ ปกครองและเด็ก เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาเสนอเป็ นแนวทางให้แก่สังคมไทยได้รู้จัก ‘เด็กไทยวันนี้’ มากยิ่งขึ้น
เด็กไทยมีศักยภาพกว่าที่คิด เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป ชีวิตของเด็กๆสมัยนี้ก็มุมที่ เปลี่ยนไปเช่นกัน เพราะเด็กประถมที่เป็น Gen Z โตมาพร้อมเทคโนโลยี และความท้าทายทางสังคมทั้งด้ านบวกและลบ จากการเจาะลึกกับกลุ่มเป้ าหมายนี้ เราพบอินไซท์ที่น่าสนใจคือ
1.Young Entrepreneur: เด็กสมัยใหม่จะเริ่มลงมื อทำงานเร็วขึ้น ต้องถามผู้ใหญ่ก่อนว่าคุณเริ่ มได้ลองทำงานเมื่ออายุเท่าไร? ปัจจุบันนี้โลกเปลี่ยนไปมากแล้ว จากการเข้ามาของอินเตอร์เน็ต ทำให้เด็กๆหลายคนที่มี ความสามารถหรือความสนใจแตกต่ างกัน ได้แสดงออกมากขึ้นในโลกออนไลน์ และมีพื้นที่ทำให้เด็กได้ ลองทำงานแบบเริ่มต้นได้หลายรู ปแบบมากขึ้น ถึงแม้เด็กๆไม่ได้ทำแบบมืออาชี พมาก แต่นี่คือจุดเริ่มต้นของการทำธุ รกิจเล็กๆที่ผู้ใหญ่ควรสนับสนุ นให้เกิดการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ เพื่อสร้าง Young Entrepreneur ในประเทศไทย สำหรับแบรนด์ต่างๆ สามารถนำจุดนี้มาพิจารณาได้ ว่าเราจะมีส่วนในการผลักดันพลั งเล็กๆเหล่านี้ได้อย่างไร ? เพื่อให้เขาสร้างสิ่งที่ยิ่ งใหญ่ในอนาคต
2.Chase The Dream: มีความฝันและติดตามคนที่ช่ วยเติมเต็มความฝันเขา ความฝันและจินตนาการของเด็ก หลายๆครั้งจะเจอการดับฝันจากผู้ ใหญ่มาท้าทาย เช่น เป็นไปไม่ได้หรอก ไร้สาระ เด็กตัวเท่านี้ทำอะไรได้?
เด็กๆหลายคนยอมรับว่า ตัวเองถูก “ตีค่า” ด้วยการวัดมาตรฐานความเก่ง ที่เกรดหรือคะแนนจากโรงเรียนเป็ นหลัก ทำให้เด็กๆไม่ค่อยแน่ใจว่ าความสนใจหรือความสามารถพิเศษที่ ตัวเองกำลังพัฒนามันมีค่ าพอไหมในสายตาผู้ใหญ่? เป็นมุมหนึ่งที่คนไทยและครอบครั วต้องตระหนัก ว่าเราพัฒนาเด็กแบบถูกทางหรื อไม่?
เด็กในวัยประถมถึงแม้จะอยู่ ภายใต้การควบคุมของพ่อแม่อยู่ มาก แต่ลึกๆแล้ว ทุกคนจะมีความฝันหรือสิ่งที่ ตนเองสนใจทั้งสิ้น และในวัยนี้เริ่มต้องการมี identity มากๆ ดังนั้นเขาอยากเป็น somebody มากกว่าแค่ nobody และสิ่งที่ช่วยเขาได้คือ ติดตามคนที่สามารถทำในสิ่งที่ เขาอยากทำได้ เป็นเหตุผลที่เด็กๆจะติดตาม รุ่นพี่ YouTuber หรือ Idol ต่างๆ ตามสาขาต่างๆ ที่เขาชื่นชอบ
ต้องกลับมาทบทวนว่า สำหรับครอบครัวและสังคม ปัจจุบันเราทำให้เขาได้เห็ นแบบอย่างที่ดีหรือไม่ เราสนับสนุนให้เขาพยายามพัฒนาศั กยภาพที่นอกเหนือจากวิชาการเพี ยงพอแล้วยัง รวมถึงชี้ให้เห็น “ความพยายาม” ไม่ใช่มองฉาบฉวยแค่ความสำเร็ จหรือชื่อเสียงปลายทางเท่านั้น
สำหรับผู้อยากสร้างความผูกพันกั บเด็กกลุ่มนี้ คุณสามารถมีส่วนในการให้เด็กได้ ทำสิ่งที่ตัวเองรักได้ หรือได้ใกล้ชิด มีปฎิสัมพันธ์กับคนที่เขาชื่ นชอบ เพียงแต่คุณต้องเข้าใจแต่ละ segment ว่าอะไรคือ Unmet needs ของ activities ที่เด็กๆอยากได้
3.Boundless Learning Era: โรงเรียนคือโลกกว้าง
ตอนนี้โลกของการเรียนเปลี่ ยนไปมาก เด็กๆคิดได้และโตไวกว่าที่เราคิ ดเยอะ การเรียนในโรงเรียน หลายครั้งเด็กตั้งคำถามว่า เราเรียนไปเพื่ออะไร? เด็กๆอยากเข้าใจการใช้งานจริง จึงหมดยุคการเรียนรู้แค่ในหนั งสือหรือห้องเรียนแล้ว สิ่งที่เด็กๆชอบมากคือ การเรียนที่ได้ลงมือทำจริง
การเรียนรู้ปัจจุบันเปลี่ ยนไปเพราะโลกออนไลน์ที่ช่วยให้ ความรู้สามารถหาได้ มากมายในโลกใบนี้ การเรียนยุคใหม่นอกจากสอนแนวคิ ดพื้นฐานแล้ว ต้องกระตุ้นให้เด็กเรียนรู้สิ่ งที่ตัวเองสนใจแล้วนำมาแลกเปลี่ ยนมุมมองร่วมกัน รวมถึงได้ลองไปทำจริง โดยมีครูหรือพ่อแม่เป็นคนช่ วยสนับสนุน ดังนั้น จึงควรสร้างสรรค์มีวิธีการใหม่ ๆในการ engage กับเด็กๆเพื่อส่งเสริมการเรี ยนรู้เช่นกัน อาจจะไม่ใช่ที่โรงเรียนเท่านั้ นที่เป็นคำตอบในยุคนี้
ขอให้ทุกคนก้าวผ่านช่วงเวลานี้ ไปให้ได้ ทุกวิกฤตมีโอกาสเสมอ ใช้เวลานี้แสวงหาไอเดียใหม่ ๆและปรับตัวเพื่อพร้อมก้าวสู่ ความสำเร็จไปด้วยกัน ‘นันยาง…ทุกก้าวคือตำนาน’
Continue Reading